BAHASA MELAYU
BAHASA MELAYU(ภาษามลายู) คือ เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552)[2] โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน
FRASA SENDI NAMA
FRASA SENDI NAMA (สรรพนามวลี) คือ สรรพนามวลี ประกอบด้วยหนึ่งคำสรรพนามและหนึ่งนามวลีที่เป็นส่วนเติมเต็มให้กับคำสรรพนามนั้น การสร้างสรรพนามวลีสามารถประกอบด้วยหลายชนิด ดังนี้
1.Sebagai predikat dalam pola ayat FN + FSN. (วลี+คำสรรพนาม)
Contohnya:(ตัวอย่าง)
-Orang lelaki Islam ke masjid setiap hari Jumaat. (ผู้ชายที่นับถือศาสนาอิสลามจะไปมัสยิดทุกๆวันศุกร์)
-Pelancong-pelancong itu dari New Zealand. (นักท่องเที่ยวนั้นมาจากประเทศนิวซิเเลนด์)
-Cincin ini untuk ibu. (แหวนวงนี้เพื่อแม่)
2.Sebagai unsur keterangan kepada frasa kerja , frasa nama dan frasa adjektif.(กริยาวลี+นามวลี+สรรพนามวลี)
⏩a.Keterangan kepada frasa kerja. Ia meliputi keterangan
"waktu","tempat","bandingan","tujuan","penyertaan","alat","hal" dan "cara".
BAHASA MELAYU(ภาษามลายู) คือ เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552)[2] โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน
FRASA SENDI NAMA
FRASA SENDI NAMA (สรรพนามวลี) คือ สรรพนามวลี ประกอบด้วยหนึ่งคำสรรพนามและหนึ่งนามวลีที่เป็นส่วนเติมเต็มให้กับคำสรรพนามนั้น การสร้างสรรพนามวลีสามารถประกอบด้วยหลายชนิด ดังนี้
1.Sebagai predikat dalam pola ayat FN + FSN. (วลี+คำสรรพนาม)
Contohnya:(ตัวอย่าง)
-Orang lelaki Islam ke masjid setiap hari Jumaat. (ผู้ชายที่นับถือศาสนาอิสลามจะไปมัสยิดทุกๆวันศุกร์)
-Pelancong-pelancong itu dari New Zealand. (นักท่องเที่ยวนั้นมาจากประเทศนิวซิเเลนด์)
-Cincin ini untuk ibu. (แหวนวงนี้เพื่อแม่)
2.Sebagai unsur keterangan kepada frasa kerja , frasa nama dan frasa adjektif.(กริยาวลี+นามวลี+สรรพนามวลี)
⏩a.Keterangan kepada frasa kerja. Ia meliputi keterangan
"waktu","tempat","bandingan","tujuan","penyertaan","alat","hal" dan "cara".
Contohnya:(ตัวอย่าง)
Waktu (กล่าวถึงเวลา)
-Kami tiba pada pukul enam petang. (ฉันมาถึงเมื่อเวลาหกโมงเย็น)
Tempat (กล่าวถึงสถานที่)
-Kanak-kanak bermain di padang bola.(เด็กๆเล่นที่สนามฟุตบอล)
Bandingan (การเปรียบเทียบ)
-Dia berjalan macam kura-kura. (เขาเดินช้าเหมือนเต่า)
⏩ b.Keterangan kepada frasa nama. Ia boleh hadir selepas kata nama sama bagi frasa nama yang berfungsi sebagai subjek, predikat, atau objek. Ia melibatkan keterangan "tempat", "pembuat", "sumber", "masa", "asal", "tujuan" dan lain-lain.
Contohnya: (ตัวอย่าง)
Masa (เวลา)
-Kehidupan pada zaman dahulu berbeza dengan kehidupan sekarang. (การใช้ชีวิตของคนสมัยก่อนมีความแตกต่างกับปัจจุบัน)
Asal (ปัจจุบัน)
-Atap daripada daun nipah tidak sesuai pada zaman sekarang. (หลังคาบ้านที่ทำจากใบปาล์มไม่เหมาะกับปัจจุบัน)
⏩c.Keterangan kepada frasa adjektif. Ia hadir selepas frasa/kata adjektif dan melibatkan keterangan "waktu", "hal", "bandingan", "tujuan", "terhadap" dan "tempat".
Contohnya:(ตัวอย่าง)
Tempat (กล่าวถึงสถานที่)
-Rumahnya jauh di hujung kampung. (บ้านของฉันอยู่ไกลท้ายหมู่บ้าน)
Binaan frasa sendi nama
Frasa sendi nama boleh terbentuk daripada salah satu binaan berikut.
อ้างอิง
- https://th.wikipedia.org/wiki
-เอกสารประกอบการสอน วิชาไวยากรณ์มลายู2
-https://www.google.co.th
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น